- Find your nearest Center
You can take charge of reducing your risk. Talk to your doctor about lifestyle changes, medicine and PFO closure
Find my nearest PFO closure center
- Is PFO Closure available on the NHS?
Yes, PFO closure was made routinely available to patients on the NHS in 2019 following a clinical commissioning policy1. NICE2 also provide guidelines on PFO closure.
PFO closure is also available through private healthcare.
Reference:
1. https://www.england.nhs.uk/com...
2. https://www.nice.org.uk/guidance/ipg472- จะเกิดอะไรขึ้นในระหว่างทำการหัตถการ?
หัตถการแบบแผลเล็กนี้จะทำในห้องปฏิบัติการสวนหัวใจและหลอดเลือด ก่อนการเริ่มหัตถการ คุณจะได้รับยาระงับประสาทเพื่อช่วยให้คุณผ่อนคลาย และได้ยาชาเฉพาะที่ เพื่อไม่ให้คุณรู้สึกไม่สบายมาก หัตถการที่ใช้สายสวนนี้จะประกอบด้วยการทำให้เกิดแผลเล็กๆ โดยทั่วไปจะอยู่ที่บริเวณขาหนีบด้านขวา และการสอดท่อขนาดเล็กเพื่อนำอุปกรณ์ปิด PFO ผ่านเข้าไปทางหลอดเลือดเพื่อไปปิด PFO ที่อยู่ในหัวใจของคุณ
เมื่อจัดตำแหน่งให้อุปกรณ์ปิด PFO อยู่ที่ PFO แล้ว อายุรแพทย์หัวใจจะตรวจดูตำแหน่งอย่างระมัดระวังโดยใช้เครื่องมือสร้างภาพหัวใจ เมื่ออายุรแพทย์หัวใจพอใจกับตำแหน่งของอุปกรณ์แล้ว ก็จะปล่อยอุปกรณ์ไว้ในหัวใจอย่างถาวรและจะถอดสายสวนทั้งหมดออกจากร่างกาย
- What is prior authorization and how does it affect me?
Prior authorization is a process many insurance companies require before a procedure. This process helps you and your healthcare provider understand if the procedure will be covered and under what conditions. The process varies, but typically requires a letter from your doctor. In this letter, your doctor will describe the medical necessity of the procedure for you.
- Is PFO closure covered by insurance?
If you have insurance through your employer or pay for private insurance, PFO closure is most likely covered. Check your insurance policy for coverage criteria and exclusions. This information can be found on most private insurance company websites.
Abbott recommends prior authorization to ensure a patient meets the criteria for coverage before scheduling the procedures. Your physician will prepare and request a prior authorization on your behalf. Please note that standard Medicare does not require or accept prior authorization requests for procedures.
- What if I have a nickel allergy?
Talk to your doctor about allergy testing. Results may show how you would respond to the nitinol wire in the device. If you have a metal allergy, your doctor may do a patch test before deciding if the implant is right for you.
- Does the device need to be replaced after a certain amount of time?
No, the Amplatzer Talisman PFO Occluder stays in the heart permanently. Once the device has been implanted, your own heart tissue grows over the device.
- What is the Amplatzer Talisman PFO Occluder and what is it made of?
The Amplatzer Talisman PFO Occluder is a device that is implanted in the heart to close a PFO. The device has 2 connected discs that are made from nitinol wire mesh.
- How safe is the PFO closure procedure with Amplatzer Talisman PFO Occluder?
More than 180,000 people have received an Amplatzer Talisman PFO Occluder.1 The safety of the device has been proven in several large studies. One study followed patients for a median of 5.9 years.2
- Abbott data on file.
- Saver JL, Carroll JD, Thaler DE, et al. Long-term outcomes of patent foramen ovale closure or medical therapy after stroke. N Engl J Med. 2017; 377: 1022-32.
- ฉันต้องทำอะไรก่อนเข้ารับการทำหัตถการปิด PFO?
อย่าลืมปรึกษาแพทย์ของคุณเกี่ยวกับยาใดๆ ที่คุณอาจใช้อยู่ เนื่องจากแพทย์อาจแนะนำคุณให้ปรับการใช้ยาของคุณก่อนรับหัตถการ แพทย์อาจบอกคุณไม่ให้รับประทานหรือดื่มอะไรหลังจากเที่ยงคืนก่อนการทำหัตถการ คุณควรจัดหารถไปและกลับจากโรงพยาบาล และขอให้ใครสักคนช่วยคุณที่บ้าน (ถ้าจำเป็น)
- การรักษาด้วยการปิด PFO มีประสิทธิภาพเพียงใด?
เป้าหมายของการปิด PFO ก็เพื่อลดความเสี่ยงของการเป็นโรคหลอดเลือดสมองซ้ำอีกครั้ง การศึกษาหลายๆ งานแสดงให้เห็นว่าการปิด PFO จะลดความเสี่ยงนี้อย่างมีนัยสำคัญ 1,2 มีการศึกษาหลายงานเปรียบเทียบประสบการณ์ของผู้ป่วยที่ได้รับการปิด PFO ร่วมกับได้ยาลดลิ่มเลือดกับผู้ป่วยที่ได้รับแต่ยาเท่านั้น สถาบันประสาทวิทยาอเมริกันวิเคราะห์ผลการศึกษาเหล่านี้และสรุปว่า การปิด PFO ร่วมกับการใช้ยาลดความเสี่ยงของการเป็นโรคหลอดเลือดสมองครั้งที่สองได้ถึง 59% เปรียบเทียบกับการใช้ยาอย่างเดียว3
- Mas JL, Derumeaux G, Guillon B, et al. Patent foramen ovale closure or anticoagulation vs. antiplatelets after stroke. N Engl J Med. 2017;377:1011-21.
- Saver JL, Carroll JD, Thaler DE, et al. Long-term outcomes of patent foramen ovale closure or medical therapy after stroke. N Engl J Med. 2017;377:1022-32.
- Messé SR, Gronseth GS, Kent DM, et al. Practice Advisory update summary: Patent foramen ovale and secondary stroke prevention. Neurology. 2020;94:876-885.
- จะเกิดอะไรขึ้นเมื่ออุปกรณ์ฝังอยู่ในร่างกายของฉัน?
ภายในไม่กี่วันหลังการทำหัตถการ เนื้อเยื่อร่างกายจะเริ่มเจริญไปคลุมอุปกรณ์ปิด PFO อุปกรณ์จะถูกฝังอยู่ในหัวใจของคุณโดยอาจจะอยู่อย่างถาวร
- ใช้เวลาในการทำหัตถการนานแค่ไหน?
การปิด PFO มักจะทำเป็นหัตถการแบบผู้ป่วยนอกและน่าจะใช้เวลาประมาณ 1 ถึง 2 ชั่วโมง ซึ่งมักทำได้โดยไม่ต้องดมยาสลบ คุณควรจะกลับบ้านได้ภายในวันนั้น
- PFO อาจเป็นสาเหตุของโรคหลอดเลือดสมองของฉันได้หรือไม่?
ประมาณ 1 ใน 4 ของคนทั่วไปมี PFO1 โดยส่วนใหญ่ไม่มีโรคหลอดเลือดสมอง อย่างไรก็ดี คุณเป็นโรคหลอดเลือดสมองตีบหรืออุดตันแล้วและตอนนี้แพทย์ของคุณทราบว่าคุณมี PFO จึงอาจจะมีความเกี่ยวข้องกัน แพทย์จะประเมินคุว่าคุณเป็นโรคหลอดเลือดสมองที่สัมพันธ์กับ PFO หรือไม่
ในบางกรณี PFO มีบทบาทสำคัญในการทำให้เกิดโรคหลอดเลือดสมอง โดย PFO อาจยอมให้ลิ่มเลือดผ่านจากหัวใจห้องบนขวาไปยังหัวใจห้องบนซ้าย หากลิ่มเลือดไปอุดตันหลอดเลือดที่ไปเลี้ยงสมองก็จะทำให้เกิดโรคหลอดเลือดสมองตีบหรืออุดตัน อ่านเพิ่มเติมเกี่ยวกับ PFO และโรคหลอดเลือดสมองได้ที่นี่
- Kent DM, Thaler DE. Is patent foramen ovale a modifiable risk factor for stroke recurrence? Stroke. 2010;41(10 Suppl):S26-30. doi: 10.1161/STROKEAHA.110.595140.
- แพทย์จะทราบได้อย่างไรว่าสาเหตุของโรคหลอดเลือดสมองของฉันคืออะไร?
แพทย์ของคุณจะทำทุกสิ่งที่พวกเขาสามารถทำได้เพื่อหาสาเหตุของโรคหลอดเลือดสมองของคุณ อย่างไรก็ดีโรคหลอดเลือดสมองตีบหรืออุดตันใน 30% ของคนทั่วไปนั้นยังไม่ทราบสาเหตุ
แพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านประสาทวิทยาและอายุรแพทย์หัวใจจะรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับสมอง หัวใจและหลอดเลือดของคุณ การทดสอบต่อไปนี้อาจใช้เพื่อรวบรวมภาพถ่ายและข้อมูลทางสุขภาพอื่นๆ:
- อัลตราซาวด์
- เอกซ์เรย์คอมพิวเตอร์ (CAT Scan, CT)
- การตรวจด้วยเครื่องสร้างภาพด้วยสนามแม่เหล็กไฟฟ้า (MRI)
- การตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ (EKG/ECG)
- การตรวจเลือด
- แพทย์ของฉันทราบได้อย่างไรว่าฉันมี PFO?
ผู้เชี่ยวชาญโรคหัวใจ (อายุรแพทย์หัวใจ) อ่านผลการตรวจหัวใจด้วยเครื่องสะท้อนเสียงความถี่สูง การตรวจนี้จะใช้คลื่นความถี่เสียงในการสร้างภาพหัวใจของคุณ รูปภาพเหล่านี้สามารถแสดงให้เห็นว่ามีปัญหาเกี่ยวกับรูปแบบพัฒนาของหัวใจหรือไม่ นอกจากนั้นยังสามารถแสดงให้เห็นด้วยว่ามีปัญหาเกี่ยวกับทิศทางการไหลของเลือดผ่านหัวใจหรือไม่
อายุรแพทย์หัวใจอาจต้องการดูการไหลของเลือดในหัวใจอย่างละเอียด โดยการตรวจด้วยฟองอากาศซึ่งเป็นอีกวิธีหนึ่งที่แพทย์ใช้ค้นหา PFO
- อุปกรณ์ปิด PFO อาจจะก่อให้เกิดปัญหาในบางสถานที่หรือบางสถานการณ์ใช่หรือไม่?
เครื่องใช้ในครัวเรือนหรือระบบรักษาความปลอดภัยจะไม่มีผลกระทบต่ออุปกรณ์ปิด PFO ของคุณ แจ้งให้แพทย์ทุกท่านรวมถึง ทันตแพทย์ประจำตัวของคุณทราบว่าคุณมีอุปกรณ์ปิด PFO หากคุณจำเป็นต้องถ่ายทางการแพทย์ โปรดแจ้งให้เจ้าหน้าที่ทราบว่าคุณมีอุปกรณ์ปิด PFO อุปกรณ์อาจลดความคมชัดของภาพถ่ายทางการแพทย์
- Is there an issue with the Amplatzer™ PFO Occluder leaching nickel?
No. The nitinol wires in the Amplatzer™ PFO Occluder are treated with a chemically etched finish, called Intaglio, that is designed to reduce the amount of nickel leached from the device. Intaglio has been tested to show a more than 95% reduction in nickel leaching, compared to PFO devices manufactured with a Black Oxide finish. People with a nickel allergy are not candidates for PFO closure.
- ฉันจะทราบได้อย่างไรว่าทางเลือกในการรักษาใดที่เหมาะสำหรับฉัน?
หากคุณได้รับการวินิจฉัยว่ามีรูผนังกั้นหัวใจห้องบนที่ไม่ปิด (PFO) และเป็นโรคหลอดเลือดสมองตีบหรืออุดตันแบบไม่ทราบสาเหตุ คุณมีความเสี่ยงที่จะเป็นโรคหลอดเลือดสมองซ้ำอีกครั้ง เพื่อลดความเสี่ยงของโรคหลอดเลือดสมองที่สัมพันธ์กับ PFO ซ้ำอีกครั้ง แพทย์ของคุณอาจแนะนำให้ปิด PFO ด้วยอุปกรณ์ปิด PFO มีการใช้อุปกรณ์ลักษณะนี้ในการบำบัดรักษาผู้ป่วยหลายแสนคนทั่วโลกและได้รับการสนับสนุนจากการศึกษาทางคลินิกขนาดใหญ่มากมาย1,2
- Mas JL, Derumeaux G, Guillon B, et al. Patent foramen ovale closure or anticoagulation vs. antiplatelets after stroke. N Engl J Med. 2017; 377:1011-21.
- Saver JL, Carroll JD, Thaler DE, et al. Long-term outcomes of patent foramen ovale closure or medical therapy after stroke. N Engl J Med. 2017;377:1022-32.
- ฉันต้องทำอะไรก่อนเข้ารับการทำหัตถการปิด PFO?
เมื่อนัดหมายทำหัตถการ:
โปรดแจ้งให้แพทย์ของคุณทราบว่าคุณใช้ยาอะไรบ้าง รวมถึงขนาดของยาแต่ละชนิด แพทย์อาจขอให้คุณเปลี่ยนยาที่รับประทานเป็นประจำก่อนการทำหัตถการ
คืนก่อนเข้ารับการทำหัตถการ:
คุณอาจถูกสั่งไม่ให้รับประทานอาหารหรือดื่มเครื่องดื่มหลังเที่ยงคืนของคืนก่อนทำหัตถการ ทำตามคำแนะนำของแพทย์เกี่ยวกับการรับประทาน การดื่มเครื่องดื่ม และการใช้ยา
วันที่เข้ารับการทำหัตถการ:
อย่าขับรถไปโรงพยาบาลเอง ให้ผู้อื่นไปรับส่งคุณไปโรงพยาบาลและกลับบ้าน คุณอาจต้องการขอให้ใครสักคนช่วยเหลือคุณที่บ้าน
- เกิดอะไรขึ้นในระหว่างทำหัตถการปิด PFO?
อันดับแรกคุณจะได้รับยาระงับประสาทที่ช่วยให้คุณผ่อนคลาย รวมทั้งได้รับยาชาเฉพาะที่ด้วย เมื่อคุณรู้สึกผ่อนคลายและสบาย แพทย์จะเริ่มทำหัตถการ
โดยแพทย์จะกรีดแผลเล็กๆ (ผ่า) ที่บริเวณขาหนีบของคุณและสอดท่อที่เรียกว่าสายสวนเข้าไป อุปกรณ์ปิด PFO จะเคลื่อนที่ไปในสายสวนนี้ แพทย์จะควบคุมให้สายสวนเคลื่อนที่ผ่านร่างกายไปยังหัวใจของคุณ
จากนั้นแพทย์จะจัดตำแหน่งให้อุปกรณ์ปิด PFO ของคุณ อุปกรณ์สร้างภาพหัวใจจะช่วยให้แพทย์มั่นใจว่าอุปกรณ์ปิดนี้อยู่ในตำแหน่งที่ถูกต้องก่อนนำสายสวนออก จากนั้นแพทย์จึงถอดสายสวนออกจากร่างกาย อุปกรณ์ปิดรูเปิดนี้จะอยู่ในหัวใจของคุณ
คุณจะพักอยู่ในห้องพักฟื้นเป็นเวลาประมาณ 2 ชั่วโมง
การปิด PFO ไม่ใช่การผ่าตัดหัวใจแบบเปิดแต่จัดเป็นหัตถการแบบ “แผลเล็ก”
- เกิดอะไรขึ้นหลังทำหัตถการปิด PFO?
คุณน่าจะได้กลับบ้านภายใน 24 ชั่วโมง แพทย์จะพูดคุยกับคุณเกี่ยวกับการดูแลตัวเองก่อนที่คุณจะกลับบ้าน และอาจแนะนำให้ทำตามคำอธิบายนี้เป็นประจำ
หนึ่งเดือนหลังจากทำหัตถการ:
- รับประทานยาแอสไพริน (81 ถึง 325 มก.) ทุกวัน
- รับประทานยาโคลพิโดเกรล (75 มก.) ทุกวัน
อย่างน้อยหกเดือนหลังจากทำหัตถการ:
- รับประทานยาแอสไพริน (81 ถึง 325 มก.) ทุกวัน
- รับประทานยาเพิ่มเติมตามที่แพทย์ของคุณสั่งให้
หกเดือนหลังจากทำหัตถการ:
- ตรวจหัวใจด้วยเครื่องสะท้อนเสียงความถี่สูง
คำแนะนำต่อเนื่อง:
- พบแพทย์เพื่อตรวจสุขภาพเป็นประจำ
- ติดต่อแพทย์ของคุณหากมีเลือดออก ปวด รู้สึกไม่สบาย หรือมีการเปลี่ยนแปลงในสุขภาพโดยรวมของคุณ
- เพื่อความปลอดภัยของคุณและเพื่อหลีกเลี่ยงความเสียหายต่ออุปกรณ์ปิดรูเปิด:
- แจ้งให้บุคลากรทางการแพทย์ทุกคนทราบว่าคุณเคยปิด PFO มาก่อน
- แจ้งเกี่ยวกับการฝังอุปกรณ์ของคุณ "ก่อน" ขั้นตอนการถ่ายภาพทุกชนิด: ที่เกี่ยวกับการแพทย์ ทันตกรรม หรือ MRI (การตรวจด้วยเครื่องสร้างภาพด้วยสนามแม่เหล็กไฟฟ้า)
- ความเสี่ยงที่เกี่ยวข้องกับหัตถการปิด PFO คืออะไร?
มีโอกาสเกิดภาวะแทรกซ้อนได้เช่นเดียวกับหัตถการทางการแพทย์ทุกชนิด ความเสี่ยงที่ร้ายแรงที่สุด ได้แก่ :
- ลิ่มเลือดในหัวใจ ขา หรือปอดที่ต้องการการบำบัดด้วยยาต้านการแข็งตัวของเลือดในระยะยาว
- เลือดหรือของเหลวสะสมระหว่างกล้ามเนื้อหัวใจและถุงหุ้มหัวใจที่จำเป็นต้องทำหัตถการเพื่อระบายออก
- อัตราการเต้นของหัวใจที่ผิดจังหวะและ/หรือเร็ว (โดยเฉพาะอย่างยิ่งภาวะหัวใจห้องบนเต้นสั่นพลิ้ว)
- กล้ามเนื้อหัวใจหรือหลอดเลือดทะลุ
- โรคหลอดเลือดสมอง (แบบรุนแรงหรือเล็กน้อย)
- การเสียชีวิต
ความเสี่ยงเพิ่มเติมที่อาจเกิดขึ้นที่เกี่ยวข้องกับหัตถการหรืออุปกรณ์ปิดรูเปิดได้แก่:
- การแพ้ยาระงับความรู้สึก
- การแพ้สารทึบรังสีที่ใช้แสดงภาพหัวใจในระหว่างการทำหัตถการ
- การแพ้ยาที่ใช้ในระหว่างการทำหัตถการ
- การแพ้โลหะ: นิทินอล (นิกเกิล ไททาเนียม) แพลทินัม/อิริเดียม สแตนเลส (โครเมียม เหล็ก แมงกานีส โมลิบดีนัม นิกเกิล)
- จังหวะการเต้นของหัวใจไม่สม่ำเสมอ
- เลือดออก
- ลิ่มเลือดบนอุปกรณ์ปิดรูเปิด
- หลอดเลือดอุดตันเนื่องจากลิ่มเลือดหรืออากาศ
- เจ็บหน้าอก
- มีไข้
- ของเหลวสะสมรอบปอด
- ปวดหัวหรือไมเกรน
- หัวใจล้มเหลว
- ความเสียหายของลิ้นหัวใจที่รบกวนการปิดลิ้นหัวใจ
- ความดันเลือดสูงหรือต่ำ
- การปิด PFO ไม่สมบูรณ์
- การติดเชื้อ
- การบาดเจ็บที่หัวใจหรือหลอดเลือด
- การบาดเจ็บที่เส้นประสาทแขนหรือคอส่วนล่าง
- การเคลื่อนตัวของอุปกรณ์ปิดรูเปิดออกจากตำแหน่งภายใน PFO หรือไปยังส่วนอื่นๆ ของร่างกาย
- การขัดขวางการไหลของเลือดไปยังอวัยวะหรือส่วนต่างๆ ของร่างกายอย่างกะทันหัน
- การผ่าตัดหรือการรักษาแบบแทรกแซงเพื่อเอาอุปกรณ์ปิดรูเปิดออก
- มีปัญหาการหายใจหรือหายใจไม่ออก
- Informed decision making
Consideration of PFO closure, including benefits, risks, and alternative treatment options should be discussed with the patient by the neurologist and cardiologist. The patient should understand the immediate and long-term potential benefits and risks of treatment options in order to make an appropriately informed decision that considers their own values and preferences.
- Surgical Closure of PFO
For rare patients aged ≤60 years with a cryptogenic embolic-appearing ischemic stroke who have a PFO and no other evident source of stroke despite a comprehensive evaluation who have a concurrent indication for cardiac surgery (eg, indication for valve surgery, or the rare PFO that is not amenable to device closure for technical reasons), surgical closure of PFO via standard or minimally invasive techniques for secondary stroke prevention after cryptogenic stroke may be an alternative to percutaneous PFO closure.
The reported efficacy of surgical closure of a PFO in patients with prior cerebrovascular ischemic events has been variable (8-11], and randomized trials comparing surgical PFO closure with percutaneous closure or with medical therapy have not been performed.
- Antithrombotic therapy
For most patients with an embolic-appearing cryptogenic stroke and a PFO who do not have device closure, antithrombotic therapy with antiplatelet agents is recommended by guidelines (3).
Another antithrombic option is anticoagulation. However, recent trials trials that explored anticoagulation treatment for patients with an Embolic Stroke of Unknown Source were negative.(need references). Anticoagulation is indicated for most patients with a cryptogenic ischemic stroke and PFO who have evidence of acute deep venous thrombosis (DVT), pulmonary embolism, other venous thromboembolism (VTE), or a hypercoagulable state.
- General measures
Patients with PFO who have an ischemic stroke or transient ischemic attack (TIA) should be treated with all appropriate risk reduction strategies, most importantly antithrombotic therapy. Other measures include life style modification (diet and exercise), blood pressure reduction, and statins (if indicated).
- Who should not have the procedure?
The Amplatzer™ PFO Occluder is not suitable for patients who:
- Have a tumor or blood clots at the site where the occluder will be placed or in the vessels through which it will be used to reach the heart
- Have blood vessels too small to allow the delivery system to pass through
- Have an anatomy in which the occluder would interfere with heart or vascular function
- Have other types of heart defects
- Have a heart infection
- How will the PFO occluder interact with the outside environment after surgery?
Your PFO occluder will not be affected by household appliances or security systems. There may be an issue with clarity of medical images, such as MRI, which could be slightly reduced because of the wire nitinol braid of the Amplatzer™ PFO Occluder. For this reason, you should inform the imaging technician that you have a PFO occluder.
- หลังจากทำหัตถการแล้ว ฉันจะกลับมาทำกิจกรรมตามปกติได้เมื่อใด?
คุณควรหลีกเลี่ยงการออกกำลังกายแบบหนักมากเป็นเวลาอย่างน้อย 2 อาทิตย์หลังจากทำหัตถการ แพทย์จะให้ข้อมูลเพิ่มเติมแก่คุณ
- ใครที่ไม่ควรเข้ารับการทำหัตถการนี้?
แพทย์จะตรวจสอบเพื่อให้แน่ใจว่าคุณไม่มี:
- เนื้องอกหรือลิ่มเลือดที่อาจขัดขวางการใส่หรือการจัดตำแหน่งอุปกรณ์ปิดรูเปิด
- หลอดเลือดที่เล็กเกินกว่าจะนำอุปกรณ์ปิดรูเปิดผ่านไปได้
- อวัยวะในร่างกาย เช่น หัวใจ หลอดเลือด หรือลิ้นหัวใจ ที่จะมีผลต่อขนาดอุปกรณ์ที่ต้องการ
- หัวใจผิดปกติชนิดอื่น
- การติดเชื้อที่หัวใจหรือการอักเสบของหัวใจ
- Does the wire in the Amplatzer™ PFO Occluder leach nickel?
Although Amplatzer™ products have always met the standards for nickel leaching, in 2014 those standards were improved through the use of Intaglio wire treatment on all Amplatzer™ PFO Occluders. The Intaglio wire treatment reduces the amount of nickel that may be leached by more than 95% depending on the model.
- ฉันควรกังวลเกี่ยวกับการมีอุปกรณ์โลหะอยู่ในหัวใจหรือไม่?
อุปกรณ์ปิด PFO ส่วนใหญ่มีโลหะผสมนิกเกิลไททาเนียม ซึ่งถือว่าปลอดภัยสำหรับคนส่วนมาก แต่อาจจะเป็นตัวเลือกที่ไม่เหมาะสำหรับผู้ที่แพ้นิกเกิลหรือผู้ที่แพ้โลหะ โปรดปรึกษาแพทย์ประจำตัวของคุณเพื่อกำหนดทางเลือกการรักษาที่เหมาะสำหรับคุณ
- What risks are associated with the procedure?
- Mauris eu ex non dui tristique posuere in id justo. Aenean auctor vel metus vitae efficitur. Curabitur vehicula, nisl ut pulvinar feugiat, velit eros lacinia ante, a consequat eros leo sit amet elit. Proin cursus lorem leo, vel elementum tellus suscipit vitae.
Frequently Asked Questions

- Abbott Data on File.